เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช 2513 มหาพุทธาภิเศกวันกองทัพไทย
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราชปี พ.ศ.2513 วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จ.สุพรรณบุรี สร้างพร้อมกับกริ่งยุทธหัตถีและพระร่วงยุทธหัตถี มหาพุทธาภิเศกโดยพระเกจิอาจารย์ทั่วฟ้าเมืองไทย ในวันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2513 วันกองทัพไทย โดยมีสมเด็จพระสังฆราช ทรงจุดเทียนชัยเวลา 11.00 น. มหาพุทธาภิเศกโดยคณาจารย์ 108 รูปดังมีรายนามต่อไปนี้
1 พระราชสุพรรณาภรณ์ (เปลื้อง) วัดสุวรรณภูมิ สุพรรณบุรี
2 พระราชธรรมาภรณ์ (เงิน) วัดดอนยายหอม นครปฐม
3 พระราชปัญญาโสภณ (สุข) วัดราชนัดดา กรุงเทพ ฯ
4 พระราชพุทธิรังษี (เจียม) วัดโสธรวราราม ฉะเชิงเทรา
5 พระโพธิวรคุณ (ฑูรย์) วัดโพธินิมิตร ธนบุรี
6 พระเมธีธรรมสาร (ไสว) วัดบ้านกร่าง สุพรรณบุรี
7 พระพุทธมนต์วราจารย์ (สุพจน์) วัดสุทัศน์ กรุงเทพ ฯ
8 พระรักขิตวันมุนี (ถิร) วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร สุพรรณบุรี
9 พระครูสุตาธิการี (ทองอยู่) วัดใหม่หนองพะอง สมุทรสาคร
10 พระครูประสาทวิทยาคม (นอ) วัดกลาง อยุธยา
11 พระครูศีลพรหมโสภิต (แพ) วัดพิกุลทอง สิงห์บุรี
12 พระครูภาวนากิตติคุณ (น้อย) วัดธรรมศาลา นครปฐม
13 พระครูสถาพรพุทธมนต์ (สำเนียง) วัดเวฬุวนาราม นครปฐม
14 พระครูวิริยะกิตติ (โต๊ะ) วัดประดู่ฉิมพลี ธนบุรี
15 พระครูพิทักษ์วิหารกิจ (สา) วัดราชนัดดา กรุงเทพ ฯ
16 พระครูโสภนกัลยาณวัตร (เส่ง) วัดกัลยาณมิตร ธนบุรี
17 พระครูพินิจสมาจารย์ (โด่) วัดนามตูม ชลบุรี
18 พระครูปัญญาโชติวัตร (เจริญ) วัดทองนพคุณ เพชรบุรี
19 พระครูประสาทพุทธิคุณ วัดคุ้งวารี สุโขทัย
20 พระครูเอนกคุณากร (แขก) วัดหัวเขา สุพรรณบุรี
21 พระครูสุวรรณวรคุณ (คำ) วัดหน่อพุทธางกูร สุพรรณบุรี
22 พระครูสุนทรานุกิจ (กริ่ง) วัดสามชุก สุพรรณบุรี
23 พระครูสุวรรณวิสุทธิ (เจริญ) วัดธัญญวารี สุพรรณบุรี
24 พระครูสุวรรณโพธิวัฒน์ (เพรียว) วัดโพธิทองเจริญ สุพรรณบุรี
25 พระครูนนทกิจวิมล (ชื่น) วัดตำหนักเหนือ นนทบุรี
26 พระครูพินิจวิหารการ (เทียม) วัดกษัตราธิราช อยุธยา
27 พระครูศรีรัตนาภิรักษ์ (โพธิ์) วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ สุพรรณบุรี
28 พระครูใบฎีกาเติม วัดไร่ขิง นครปฐม
29 พระครูประภัศร์ธรรมาภรณ์ (แต้ม) วัดพระลอย สุพรรณบุรี
30 พระครูวิจิตรวิหารการ (เจิม) วัดกุฎีทอง สุพรรณบุรี
31 พระครูสุนทรธรรมจารี (อ๊อด) วัดพระธาตุ สุพรรณบุรี
32 พระครูอโศกสันติคุณ (สงัด) วัดดอนหอคอย สุพรรณบุรี
33 พระครูอุภัยภาดาทร (ขอม) วัดไผ่โรงวัว สุพรรณบุรี
34 พระครูวิมลสังวร (สังวร) วัดแค สุพรรณบุรี
35 พระครูสังฆรักษ์สัมฤทธิ์ วัดอู่ทอง สุพรรณบุรี
36 หลวงพ่อมิ วัดสิงห์ ธนบุรี
37 พระครูปลัดสงัด วัดพระเชตุพนวิมังคลาราม กรุงเทพ ฯ
38 พระอาจารย์ไสว วัดราชนัดดา กรุงเทพ ฯ
39 พระอาจารย์สมคิด วัดเลา ธนบุรี
40 พระอาจารย์หลวงพ่อผ่อง วัดจักรวรรดิ กรุงเทพ ฯ
41 พระอาจารย์หลวงพ่อกก วัดดอนขมิ้น กาญจนบุรี
42 พระอาจารย์หลวงพ่อเณร วัดพรพระร่วง กรุงเทพ ฯ
43 พระอาจารย์หลวงพ่อหอม วัดซากหมาก ระยอง
44 พระอาจารย์หลวงพ่อกี๋ วัดหูช้าง นนทบุรี
45 พระครูฉาย วัดชนะสงคราม กรุงเทพ ฯ
46 พระอาจารย์สร้อย วัดเลียบราษฎร์บำรุง กรุงเทพ ฯ
47 พระอธิการคำ วัดพระรูป สุพรรณบุรี
48 พระอาจารย์เผื่อน วัดพระรูป สุพรรณบุรี
49 พระธรรมธรทองดี วัดพระรูป สุพรรณบุรี
50 พระอาจารย์พล วัดนิเวศน์ธรรมาราม สุพรรณบุรี
51 พระอธิการทอง วัดประตูสาร สุพรรณบุรี
52 พระครูวิบูลย์คุณวัตร (หล่อ) วัดน้อย อ่างทอง
53 พระอาจารย์เกลื่อน วัดรางสงวน อ่างทอง
54 พระครูศีลโสภิต วัดทองพุ่มพวง สุพรรณบุรี
55 ท่านองสรพจนสุนทร วัดกุศลสมาคร กรุงเทพ ฯ
56 พระครูสุวรรณวุฒาจารย์ (มุ่ย) วัดดอนไร่ สุพรรณบุรี
57 พระครูปรีชาวุฒิคุณ (ฮวด) วัดดอนโพธิ์ทอง สุพรรณบุรี
58 พระครูประสาทวรคุณ (พริ้ง) วัดโบสถ์ ลพบุรี
59 พระสมุห์จำลอง วัดท่าสว่างศรีไพฑูรย์ อุดรธานี
60 พระครูวิเศษมงคลกิจ วัดกก กรุงเทพ ฯ
61 พระมหาต่วน วัดมเหยงคณ์ สุพรรณบุรี
62 พระครูสุนทรวิริยานุวัตร วัดกุฎีทอง สุพรรณบุรี
63 พระครูศรีปทุมรักษ์ วัดศรีบัวบาน สุพรรณบุรี
64 พระครูอาทรศาสนกิจ วัดวังพระนอน สุพรรณบุรี
65 พระครูมงคลนิวิฐ วัดนิเวศน์ธรรมาราม สุพรรณบุรี
66 พระอาจารย์นุรัตน์ วัดนางพญา พิษณุโลก
67 พระครูปลัดพวน วัดท่าพระยาจักร์ สุพรรณบุรี
68 พระอาจารย์ธีระ วัดท่าพระยาจักร์ สุพรรณบุรี
69 พระครูศรีปริยัตยานุรักษ์ วัดพันอ้น เชียงใหม่
70 พระครูศาสนกิจจาภิรมย์ วัดไผ่เดี่ยว สุพรรณบุรี
71 พระครูวาทีธรรมคุณ วัดลานคา สุพรรณบุรี
72 พระครูพินิตสุวรรณภูมิ วัดยุ้งทลาย สุพรรณบุรี
73 พระใบฎีกาทวน วัดอุทุมพราราม สุพรรณบุรี
74 พระมหาบุญ วัดพันตำลึง สุพรรณบุรี
75 พระใบฎีกาบุญชู วัดไตรรัตนาราม สุพรรณบุรี
76 พระครูสุนทรศีลคุณ วัดนางในธรรมิการาม อ่างทอง
77 พระครูวิเศษสุตกิจ วัดสำโรง อ่างทอง
78 พระครูถาวรธรรมนิเทศ วัดหลวง อ่างทอง
79 พระครูธรรมธรศรีรัตน์ วัดวิเศษ อ่างทอง
80 พระครูวรพรตศีลขันธ์ วัดอรัญญิกาวาส ชลบุรี
...ฯลฯ
วันเสาร์ที่ 30 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
วันพฤหัสบดีที่ 28 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
เหรียญพระนเรศวรมหาราช รุ่นสู้ ปี 48
เหรียญพระนเรศวรมหาราช รุ่นสู้ ปี 48
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชเสาวนีย์ให้พลเอกณพล บุญทับ รองสมุหราชองครักษ์ จัดสร้างเหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รุ่น "สู้" เพื่อนำไปพระราชทาน ทหาร ตำรวจราษฏรอาสาสมัครรักษาหมู่บ้านใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และบริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลทูลเกล้าถวาย นำไปทรงช่วยใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินบวงสรวงดวงพระวิญญาณ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และทรงจุดเทียนชัยในพิธีมหาชัยมังคลาภิเษก โดยพระภาวนาจารย์ 108 รูป พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ 2,549 รูป ณพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายน 2548 เวลา 17.19 น.
นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถมีพระราชประสงค์ให้จัดสร้างเหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อพระราชทานเป็นขวัญกำลังใจแก่ข้าราชการ ทหาร ตำรวจและอาสาสมัครที่ปฏิบัติภารกิจในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โปรดเกล้าฯพระราชทานคำขวัญเป็นลายพระหัตถ์ของพระองค์ "สู้"ประทับที่หลังเหรียญและพระราชทานพระนามาภิไธยย่อ สก. ประดิษฐานหลังเหรียญด้วย
ส่วนหนึ่งจะเปิดให้ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคโดยเสด็จพระราชกุศล เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงนำไปใช้ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตามพระราชอัธยาศัย
1. เหรียญทองคำ สร้างจำนวน 3,999 เหรียญ น้ำหนักประมาณ 1.5 บาท
2. เหรียญเงิน สร้างจำนวน 9,999 เหรียญ
3. เหรียญทองแดงบริสุทธิ์ สร้างจำนวน 999,999 เหรียญ
พระราชพิพัฒน์โกศล เจ้าอาวาสวัดศรีสุดาราม แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม.เป็นประธานดำเนินการฝ่ายสงฆ์ พลเอกณพล บุญทับ รองสมุหราชองครักษ์และผู้อำนวยการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระบรมราชินีนาถประธานดำเนินงานฝ่ายฆราวาสและผู้รับพระราชเสาวนีย์
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทรงบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงจุดเทียนชัย ในพิธีมหาชัยมังคลาภิเษก โดยพระภาวนาจารยืน 108 รูป พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ จำนวน2,549 รูป ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง วันอาทิตย์ ที่ 11 กันยายน 2548พสกนิกรทุกหมู่เหล่าทั่วประเทศไทยมีโอกาสที่ตอบแทนพระคุณแผ่นดิน
พิธีพุทธาภิเษก วันที่ 19 พ.ย.2548 ที่วัดพระแก้ว มีพิธีบวงสรวง เวลา 9.00 น.เป็นต้นไปมีพระเกจิอาจารย์ ดังๆร่วมพิธีปลุกเสก จำนวน 6รอบ รอบละเกือบร้อยรูป สมเด็จพระราชินีเสด็จเป็นประธานในพิธีเวลา 17.19 น.
เหรียญสมเด็จนเรศวร มหาราช รุ่น สู้ เนื้อทองแดง จำนวนการจัดสร้าง 999,999 เหรียญ พิธี ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) กรุงเทพฯ
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ มีพระราชเสาวนีย์ให้พลเอกณพล บุญทับ รองสมุหราชองครักษ์ จัดสร้างเหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รุ่น "สู้" เพื่อนำไปพระราชทาน ทหาร ตำรวจราษฏรอาสาสมัครรักษาหมู่บ้านใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้และบริจาคโดยเสด็จพระราชกุศลทูลเกล้าถวาย นำไปทรงช่วยใน 3 จังหวัดชายแดนภาคใต้
สมเด็จพระนางเจ้าฯพระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินบวงสรวงดวงพระวิญญาณ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช และทรงจุดเทียนชัยในพิธีมหาชัยมังคลาภิเษก โดยพระภาวนาจารย์ 108 รูป พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ 2,549 รูป ณพระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดารามในพระบรมมหาราชวัง วันอาทิตย์ที่ 11 กันยายน 2548 เวลา 17.19 น.
นับเป็นพระมหากรุณาธิคุณที่สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถมีพระราชประสงค์ให้จัดสร้างเหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพื่อพระราชทานเป็นขวัญกำลังใจแก่ข้าราชการ ทหาร ตำรวจและอาสาสมัครที่ปฏิบัติภารกิจในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ โปรดเกล้าฯพระราชทานคำขวัญเป็นลายพระหัตถ์ของพระองค์ "สู้"ประทับที่หลังเหรียญและพระราชทานพระนามาภิไธยย่อ สก. ประดิษฐานหลังเหรียญด้วย
ส่วนหนึ่งจะเปิดให้ผู้มีจิตศรัทธาบริจาคโดยเสด็จพระราชกุศล เพื่อทูลเกล้าฯ ถวายเพื่อทรงนำไปใช้ในโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริ ตามพระราชอัธยาศัย
1. เหรียญทองคำ สร้างจำนวน 3,999 เหรียญ น้ำหนักประมาณ 1.5 บาท
2. เหรียญเงิน สร้างจำนวน 9,999 เหรียญ
3. เหรียญทองแดงบริสุทธิ์ สร้างจำนวน 999,999 เหรียญ
พระราชพิพัฒน์โกศล เจ้าอาวาสวัดศรีสุดาราม แขวงบางขุนนนท์ เขตบางกอกน้อย กทม.เป็นประธานดำเนินการฝ่ายสงฆ์ พลเอกณพล บุญทับ รองสมุหราชองครักษ์และผู้อำนวยการโครงการอันเนื่องมาจากพระราชดำริสมเด็จพระบรมราชินีนาถประธานดำเนินงานฝ่ายฆราวาสและผู้รับพระราชเสาวนีย์
สมเด็จพระนางเจ้าฯ พระบรมราชินีนาถ เสด็จพระราชดำเนินทรงบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ทรงจุดเทียนชัย ในพิธีมหาชัยมังคลาภิเษก โดยพระภาวนาจารยืน 108 รูป พระสงฆ์เจริญพระพุทธมนต์ จำนวน2,549 รูป ณ พระอุโบสถวัดพระศรีรัตนศาสดาราม ในพระบรมมหาราชวัง วันอาทิตย์ ที่ 11 กันยายน 2548พสกนิกรทุกหมู่เหล่าทั่วประเทศไทยมีโอกาสที่ตอบแทนพระคุณแผ่นดิน
พิธีพุทธาภิเษก วันที่ 19 พ.ย.2548 ที่วัดพระแก้ว มีพิธีบวงสรวง เวลา 9.00 น.เป็นต้นไปมีพระเกจิอาจารย์ ดังๆร่วมพิธีปลุกเสก จำนวน 6รอบ รอบละเกือบร้อยรูป สมเด็จพระราชินีเสด็จเป็นประธานในพิธีเวลา 17.19 น.
เหรียญสมเด็จนเรศวร มหาราช รุ่น สู้ เนื้อทองแดง จำนวนการจัดสร้าง 999,999 เหรียญ พิธี ณ วัดพระศรีรัตนศาสดาราม (วัดพระแก้ว) กรุงเทพฯ
วันพฤหัสบดีที่ 21 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรเมืองงาย
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรเมืองงาย
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรเมืองงาย (ดอกจันทร์ใหญ่) โดยพิธีพุทธภิเษก ณ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๑๒ โดยมีการสร้างพร้อมพระกริ่งพระชัยวัฒน์นเรศวรเมืองงาย นับเป็นการสร้างพระเครื่องครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของภาคเหนือ การประกอบพุทธาภิเษกครั้งนั้น พันตำรวจเอกนิรันดร ชัยนาม ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ในขณะนั้น ประธานคณะกรรมการจัดสร้างฯ ได้กราบบังคมทูล ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช เสร็จทรงเป็นประธานในพิธีเททองครั้งนี้ด้วย พร้อมกันนี้ได้มีการนิมนต์พระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงในขณะนั้น ร่วมพิธีนั่งปรกปลุกเสกอีกด้วย ชาติไทยได้ดำรงความเป็นเอกราชเป็นไทยมาได้จากอดีตถึงปัจจุบัน ก็ด้วยเหล่าบรรดาวีรชนผู้กล้าหาญ ที่ได้เสียสละชีวิตเลือดเนื้อเป็นชาติพลี ประเทศของเราจึงมีความเป็นปึกแผ่นมาถึงทุกวันนี้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช กษัตริย์นักรบผู้ยิ่งใหญ่อยู่ในหัวใจของปวงชนชาวไทยมาตลอดกาล พร้อมผู้ร่วมพระหฤทัยอาทิ สมเด็จพระเอกาทศรถ เหล่าบรรดาแม่ทัพนายกอง และนักรบผู้กล้าหาญของชาวไทยในสมัยนั้น ล้วนแล้วแต่ได้ประกอบวีรกรรมอันสูงส่งทั้งสิ้น สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ได้ทรงเสี่ยงพระองค์ ด้วยความกล้าหาญอุตสาหะอดทน ไม่ย่อท้อ ไม่มีเวลาแม้แต่จะทรงมีความสำราญ จะเห็นได้ว่าตลอดพระชนอายุไม่เคยอภิเษกสมรส เพราะไม่มีเวลาที่จะมาคิดคำนึงถึงเรื่องอันเป็นส่วนพระองค์เลย ประชาชนชาวไทยโดยเฉพาะชาวเชียงใหม่ได้น้อมระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ที่พระองค์ได้ทรงมีพระเมตตาต่อชาติไทย จึงเห็นควรได้ร่วมกันจัดสร้างสิ่งอันเป็นอนุสรณ์แด่พระองค์ท่านขึ้น และได้เห็นพ้องต้องกันว่า บริเวณบ้านเมืองงาย ตำบลเมืองงาย อำเภอเชียงดาว เป็นสถานที่ที่พระองค์ได้เข้าโจมตีขับไล่อริราชศัตรู โดยมีหลักฐานปรากฎชัดเจน ไม้รั้วค่ายซึ่งยังมีอยู่มากในบริเวณนั้น ประกอบด้วยพระสถูปเจดีย์ ซึ่งอยู่ภายนอกอาณาเขตไทยได้ชำรุดทรุดโทรมและถูกทำลายไป จึงควรสร้างขึ้นในสถานที่แห่งนี้แทนพระเจดีย์องค์ที่ได้สูญเสียไป ปีพ.ศ.๒๕๑๒ คณะกรรมการก่อสร้างพระสถูปเจดีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชานุสรณ์ ได้จัดสร้างพระบูชา
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรเมืองงาย (ดอกจันทร์ใหญ่) โดยพิธีพุทธภิเษก ณ วัดพระสิงห์วรมหาวิหาร อ.เมือง จ.เชียงใหม่ เมื่อวันที่ ๑๕ มกราคม พ.ศ.๒๕๑๒ โดยมีการสร้างพร้อมพระกริ่งพระชัยวัฒน์นเรศวรเมืองงาย นับเป็นการสร้างพระเครื่องครั้งยิ่งใหญ่ที่สุดของภาคเหนือ การประกอบพุทธาภิเษกครั้งนั้น พันตำรวจเอกนิรันดร ชัยนาม ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงใหม่ในขณะนั้น ประธานคณะกรรมการจัดสร้างฯ ได้กราบบังคมทูล ขอพระราชทานพระบรมราชวโรกาสพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว ภูมิพลอดุลยเดช เสร็จทรงเป็นประธานในพิธีเททองครั้งนี้ด้วย พร้อมกันนี้ได้มีการนิมนต์พระเกจิอาจารย์ที่มีชื่อเสียงในขณะนั้น ร่วมพิธีนั่งปรกปลุกเสกอีกด้วย ชาติไทยได้ดำรงความเป็นเอกราชเป็นไทยมาได้จากอดีตถึงปัจจุบัน ก็ด้วยเหล่าบรรดาวีรชนผู้กล้าหาญ ที่ได้เสียสละชีวิตเลือดเนื้อเป็นชาติพลี ประเทศของเราจึงมีความเป็นปึกแผ่นมาถึงทุกวันนี้ สมเด็จพระนเรศวรมหาราช กษัตริย์นักรบผู้ยิ่งใหญ่อยู่ในหัวใจของปวงชนชาวไทยมาตลอดกาล พร้อมผู้ร่วมพระหฤทัยอาทิ สมเด็จพระเอกาทศรถ เหล่าบรรดาแม่ทัพนายกอง และนักรบผู้กล้าหาญของชาวไทยในสมัยนั้น ล้วนแล้วแต่ได้ประกอบวีรกรรมอันสูงส่งทั้งสิ้น สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระองค์ได้ทรงเสี่ยงพระองค์ ด้วยความกล้าหาญอุตสาหะอดทน ไม่ย่อท้อ ไม่มีเวลาแม้แต่จะทรงมีความสำราญ จะเห็นได้ว่าตลอดพระชนอายุไม่เคยอภิเษกสมรส เพราะไม่มีเวลาที่จะมาคิดคำนึงถึงเรื่องอันเป็นส่วนพระองค์เลย ประชาชนชาวไทยโดยเฉพาะชาวเชียงใหม่ได้น้อมระลึกถึงพระมหากรุณาธิคุณ ที่พระองค์ได้ทรงมีพระเมตตาต่อชาติไทย จึงเห็นควรได้ร่วมกันจัดสร้างสิ่งอันเป็นอนุสรณ์แด่พระองค์ท่านขึ้น และได้เห็นพ้องต้องกันว่า บริเวณบ้านเมืองงาย ตำบลเมืองงาย อำเภอเชียงดาว เป็นสถานที่ที่พระองค์ได้เข้าโจมตีขับไล่อริราชศัตรู โดยมีหลักฐานปรากฎชัดเจน ไม้รั้วค่ายซึ่งยังมีอยู่มากในบริเวณนั้น ประกอบด้วยพระสถูปเจดีย์ ซึ่งอยู่ภายนอกอาณาเขตไทยได้ชำรุดทรุดโทรมและถูกทำลายไป จึงควรสร้างขึ้นในสถานที่แห่งนี้แทนพระเจดีย์องค์ที่ได้สูญเสียไป ปีพ.ศ.๒๕๑๒ คณะกรรมการก่อสร้างพระสถูปเจดีย์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชานุสรณ์ ได้จัดสร้างพระบูชา
วันเสาร์ที่ 16 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
เหรียญ สมเด็จ พระ นเรศวร รุ่น เผด็จ ศึก
เหรียญ สมเด็จ พระ นเรศวร รุ่น เผด็จ ศึก ปี2507
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเผด็จศึก เนื้ออัลปาก้า(ทรงช้างไชยานุภาพ หรือ เจ้าพระยาปราบหงสาวดี) ในพิธีพระกริ่งนเรศวร รุ่นแรก พระกริ่งนเรศวรสะท้านไตรภพ (เพียงพระนามก็สะท้านไปทั้งสามภพแล้ว) ปี 2507 วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก สภาพสวย และเป็นบล็อคงวงเกยเข่าช้างหายากที่สุด ราคายังไม่แพงมาก พิธีใหญ่ คณาจารย์ในยุคปี 2500 มาร่วมพิธีกันหลายท่านครับ สำหรับราคาของพระกริ่งฯ ใหญ่ เนื้อนวะโลหะ ซึ่งสร้างประมาณ 700 องค์
ประกอบพิธีเททอง ณ.มณฑลพิธีหน้าวิหารที่ประดิษฐานพระบรมรูป สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายใน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ (หลวงพ่อพระพุทธชินราช) จังหวัดพิษณุโลก โดยประกอบพิธีเททองเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2507 ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปีมะโรง จุลศักราช 1326 องค์ประธานประกอบพิธีเททองคือ พระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระพระอริยวงญศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช(ปุณณสิริมหาเถร ปุ่น ปธ. 7) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อครังยังทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ “สมเด็จ พระวันรัต”ฤกษ์เททองพระกริ่งรุ่นนี้ตรงกับเวลา 20.00 น. ซึ่งในบันทึกการจัดสร้างได้บันทึกไว้ว่า “เวลา 20.00 น.พราหมณ์ประกอบพิธีบวงสรวงเทพยดาบูชาฤกษ์ ณ มณฑลพิธีหน้าพระวิหารสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกลางแจ้ง ณ เบื้องทิศอีสานตะวันออกเฉียงเหนือ อันเป็นทิศศรีแห่งวันพฤหัสบดี เมื่อได้กำหนดเวลาฤกษ์โหราจารย์ ก็บันลือเสียงฆ้องชัยขึ้นเป็นสัญญาณแห่งเวลาอันเป็นมงคล
พระเกจิร่วมปลุกเสก
1.พระเทพสิทธินายก(นาค) วัดระฆังฯ ธนบุรี กทม.
2.พระโสภณปัญญาจารย์ วัดปทุมวราราม ปทุมวัน กทม.
3.พระครูจันทรโสภณ(นาค) วัดนรนาถสุทริการาม เทเวศน์ กทม.
4.พระอาจารย์ไสว สุมโน วัดราชนัดดาราม กทม.
5.หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน จ.ลำปาง
6.หลวงพ่อปี้ วัดด่านลานหอย จ.สุโขทัย
7.หลวงพ่อวัง วัดบ้านด่าน จ.ตาก
8.หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติการาม จ.พระนครศรีอยุธยา
9.หลวงพ่อชื่น วัดตำหนักเหนือ จ.นนทบุรี
10.หลวงพ่อทบ วัดชนแดน จ.เพชรบูรณ์
11.หลวงพ่อกัน วัดเขาแก้ว จ.นครสวรรค์
12.พระอาจารย์บุญโสม วัดหัวข่วง จ.ลำปาง
13. หลวงพ่อเตียง วัดเขารูปช้าง จ.พิจิตร
14.หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม
15.พระอาจารย์นำ วัดดอนศาลา จ.พัทลุง
16.พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน จ.นครศรีธรรมราช
17.หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี
18.หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กทม.
19.หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราชเผด็จศึก เนื้ออัลปาก้า(ทรงช้างไชยานุภาพ หรือ เจ้าพระยาปราบหงสาวดี) ในพิธีพระกริ่งนเรศวร รุ่นแรก พระกริ่งนเรศวรสะท้านไตรภพ (เพียงพระนามก็สะท้านไปทั้งสามภพแล้ว) ปี 2507 วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก สภาพสวย และเป็นบล็อคงวงเกยเข่าช้างหายากที่สุด ราคายังไม่แพงมาก พิธีใหญ่ คณาจารย์ในยุคปี 2500 มาร่วมพิธีกันหลายท่านครับ สำหรับราคาของพระกริ่งฯ ใหญ่ เนื้อนวะโลหะ ซึ่งสร้างประมาณ 700 องค์
ประกอบพิธีเททอง ณ.มณฑลพิธีหน้าวิหารที่ประดิษฐานพระบรมรูป สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ภายใน วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ (หลวงพ่อพระพุทธชินราช) จังหวัดพิษณุโลก โดยประกอบพิธีเททองเมื่อวันพฤหัสบดีที่ 19 พฤศจิกายน พ.ศ.2507 ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ำ เดือน 12 ปีมะโรง จุลศักราช 1326 องค์ประธานประกอบพิธีเททองคือ พระเดชพระคุณท่านเจ้าประคุณ สมเด็จพระพระอริยวงญศาคตญาณ สมเด็จพระสังฆราช(ปุณณสิริมหาเถร ปุ่น ปธ. 7) วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม เมื่อครังยังทรงดำรงสมณศักดิ์ที่ “สมเด็จ พระวันรัต”ฤกษ์เททองพระกริ่งรุ่นนี้ตรงกับเวลา 20.00 น. ซึ่งในบันทึกการจัดสร้างได้บันทึกไว้ว่า “เวลา 20.00 น.พราหมณ์ประกอบพิธีบวงสรวงเทพยดาบูชาฤกษ์ ณ มณฑลพิธีหน้าพระวิหารสมเด็จพระนเรศวรมหาราชกลางแจ้ง ณ เบื้องทิศอีสานตะวันออกเฉียงเหนือ อันเป็นทิศศรีแห่งวันพฤหัสบดี เมื่อได้กำหนดเวลาฤกษ์โหราจารย์ ก็บันลือเสียงฆ้องชัยขึ้นเป็นสัญญาณแห่งเวลาอันเป็นมงคล
พระเกจิร่วมปลุกเสก
1.พระเทพสิทธินายก(นาค) วัดระฆังฯ ธนบุรี กทม.
2.พระโสภณปัญญาจารย์ วัดปทุมวราราม ปทุมวัน กทม.
3.พระครูจันทรโสภณ(นาค) วัดนรนาถสุทริการาม เทเวศน์ กทม.
4.พระอาจารย์ไสว สุมโน วัดราชนัดดาราม กทม.
5.หลวงพ่อเมือง วัดท่าแหน จ.ลำปาง
6.หลวงพ่อปี้ วัดด่านลานหอย จ.สุโขทัย
7.หลวงพ่อวัง วัดบ้านด่าน จ.ตาก
8.หลวงพ่ออั้น วัดพระญาติการาม จ.พระนครศรีอยุธยา
9.หลวงพ่อชื่น วัดตำหนักเหนือ จ.นนทบุรี
10.หลวงพ่อทบ วัดชนแดน จ.เพชรบูรณ์
11.หลวงพ่อกัน วัดเขาแก้ว จ.นครสวรรค์
12.พระอาจารย์บุญโสม วัดหัวข่วง จ.ลำปาง
13. หลวงพ่อเตียง วัดเขารูปช้าง จ.พิจิตร
14.หลวงพ่อเงิน วัดดอนยายหอม จ.นครปฐม
15.พระอาจารย์นำ วัดดอนศาลา จ.พัทลุง
16.พ่อท่านคล้าย วัดสวนขัน จ.นครศรีธรรมราช
17.หลวงพ่อมุ่ย วัดดอนไร่ จ.สุพรรณบุรี
18.หลวงปู่โต๊ะ วัดประดู่ฉิมพลี กทม.
19.หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง จ.สิงห์บุรี
วันศุกร์ที่ 15 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รุ่นวังจันทร์
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รุ่นวังจันทร์
เหรียญพระพุทธชินราช หลังสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กู้เอกราช รุ่นวังจันทร์ ปี 2548 กะไหล่ทอง สมเด็จพระนเรศวร พระผู้ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย พิธีมหาจักรพรรดิ์ 9 วัน 9 คืน ณ พระวิหารพระพุทธชินราช พิษณุโลก ครบรอบ 400 ปี วันสวรรคต 15 พฤษภาคม 2548 ตรงวันอาทิตย์ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา
วัตถุประสงค์การสร้างวัตถุมงคลครั้งนี้ เพื่อหารายได้ในการบูรณะ พระราชวังจันทน์และปรับปรุงพัฒนาพื้นที่โบราณสถานให้เป็นแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์และสถานที่ท่องเที่ยว ทั้งนี้จังหวัดพิษณุโลก
เหรียญพระพุทธชินราช หลังสมเด็จพระนเรศวรมหาราช กู้เอกราช รุ่นวังจันทร์ ปี 2548 กะไหล่ทอง สมเด็จพระนเรศวร พระผู้ทรงกอบกู้เอกราชของชาติไทย พิธีมหาจักรพรรดิ์ 9 วัน 9 คืน ณ พระวิหารพระพุทธชินราช พิษณุโลก ครบรอบ 400 ปี วันสวรรคต 15 พฤษภาคม 2548 ตรงวันอาทิตย์ขึ้น 8 ค่ำ เดือน 6 ปีระกา
วัตถุประสงค์การสร้างวัตถุมงคลครั้งนี้ เพื่อหารายได้ในการบูรณะ พระราชวังจันทน์และปรับปรุงพัฒนาพื้นที่โบราณสถานให้เป็นแหล่งเรียนรู้ประวัติศาสตร์และสถานที่ท่องเที่ยว ทั้งนี้จังหวัดพิษณุโลก
วันจันทร์ที่ 11 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประกาศอิสรภาพ ด้านหลังอกเลา ปี 2507
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช ประกาศอิสรภาพ ด้านหลังอกเลา ปี 2507
เหรียญในพิธีพระกริ่งนเรศวร รุ่นแรก ปี 2507 วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก
พิธีใหญ่ คณาจารย์ในยุคปี 2500 มาร่วมพิธีกันมากมาย โดยมี พระอาจารย์ไสว สุมโน วัดราชนัดดา เป็นเจ้าพิธีฝ่ายสงฆ์ และจอมพลประภาส เป็นประธานฝ่ายฆราวาส
เหรียญในพิธีพระกริ่งนเรศวร รุ่นแรก ปี 2507 วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก
พิธีใหญ่ คณาจารย์ในยุคปี 2500 มาร่วมพิธีกันมากมาย โดยมี พระอาจารย์ไสว สุมโน วัดราชนัดดา เป็นเจ้าพิธีฝ่ายสงฆ์ และจอมพลประภาส เป็นประธานฝ่ายฆราวาส
วันศุกร์ที่ 8 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังขุนแผนพิธีใหญ่ หลวงปู่ดุลย์ ร่วมปลุกเสก
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หลังขุนแผนพิธีใหญ่ หลวงปู่ดุลย์ ร่วมปลุกเสก
พิธีพุทธภิเษก ครั้งที่ 1 ที่วัดไตรรัตนาราม จ. สุรินทร์ มีรายได้คณาจาร์ร่วมปลุกเสกดังนี้
1.หลวงปู่ดุลย์ วัดบูรพาราม
2.หลวงพ่อน้อย วัดป่านิมิตร มงคล
3.อาจาร์ใหญ่ วัดป่าบ้านตาเตน
และมีพิธีพุทธภิเศก ครั้งที่ 2 ที่วัด อุโบสทวัดสุทัศน์ กทม.
และมีเกจิดังๆมีมากมายร่วมปลุกเสก
มีรายนามเกจิ ดังนี้
1. หลวงพ่อ ถีร์ วัดป่าเลย์ไลย์
2.หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
3.หลวงพ่อเข็ม วัดสุท
พิธีพุทธภิเษก ครั้งที่ 1 ที่วัดไตรรัตนาราม จ. สุรินทร์ มีรายได้คณาจาร์ร่วมปลุกเสกดังนี้
1.หลวงปู่ดุลย์ วัดบูรพาราม
2.หลวงพ่อน้อย วัดป่านิมิตร มงคล
3.อาจาร์ใหญ่ วัดป่าบ้านตาเตน
และมีพิธีพุทธภิเศก ครั้งที่ 2 ที่วัด อุโบสทวัดสุทัศน์ กทม.
และมีเกจิดังๆมีมากมายร่วมปลุกเสก
มีรายนามเกจิ ดังนี้
1. หลวงพ่อ ถีร์ วัดป่าเลย์ไลย์
2.หลวงพ่อแพ วัดพิกุลทอง
3.หลวงพ่อเข็ม วัดสุท
เหรียญพระนเรศวรหลังยันต์เกาะเพชร รุ่น 100 ปี
วันอังคารที่ 5 พฤษภาคม พ.ศ. 2558
เหรียญสมเด็จพระนเรศวร "ตองโข่"
เหรียญสมเด็จพระนเรศวรมหาราช รุ่น "ตองโข่" เป็นการเรียกของทหารกองทัพเมืองไต เหรียญนี้เป็นการร่วมมือกันสร้างระหว่างผู้นำกองทัพเมืองไต โดย"หนุ่มหาญศึก" กับ "จอมพลสฤษดิ์ ธนะรัชต์" นายกรัฐมนตรีของไทยในสมัยนั้นและยังดำรงตำแหน่งผู้บัญชาการทหารสูงสุด ได้ร่วมกันจัดสร้างเหรียญบูชาสมเด็จพระนเรศวรมหาราชขึ้น จำนวน 1,000 เหรียญ (บ้างก็ว่า 2,000 เหรียญ แบ่งกันฝั่งละ 1,000 เหรียญ )
พ.ศ.2503 เหรียญนี้ได้ผ่านพิธีมงคลภิเษกถึง 2 ครั้งด้วยกัน โดยพระเกจิคณาจารย์ล้วนชื่อดังเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของผู้คนในสมัยนั้นมาก มาย
พิธีมงคลพุทธาภิเษกครั้งแรกมีขึ้นที่วัดราชบพิธสถิตสีมาราม กทม. ต่อมาได้ทำพิธีอีกครั้งที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก (วัดใหญ่ ) และพิธีบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวร ณ พระราชวังจันทน์ (สถานที่ประสูติ)
พ.ศ.2503 เหรียญนี้ได้ผ่านพิธีมงคลภิเษกถึง 2 ครั้งด้วยกัน โดยพระเกจิคณาจารย์ล้วนชื่อดังเป็นที่เลื่อมใสศรัทธาของผู้คนในสมัยนั้นมาก มาย
พิธีมงคลพุทธาภิเษกครั้งแรกมีขึ้นที่วัดราชบพิธสถิตสีมาราม กทม. ต่อมาได้ทำพิธีอีกครั้งที่วัดพระศรีรัตนมหาธาตุ จ.พิษณุโลก (วัดใหญ่ ) และพิธีบวงสรวงดวงพระวิญญาณสมเด็จพระนเรศวร ณ พระราชวังจันทน์ (สถานที่ประสูติ)
สมัครสมาชิก:
บทความ (Atom)